Tuesday, September 20, 2011

Tourist attractions.(Wat Rong Khun)




Wat Rong Khun
is different from any other temple in Thailand, as its ubosot (Pali: uposatha; consecrated assembly hall) is designed in white color with some use of white glass. The white color stands for Lord Buddha’s purity; the white glass stands for Lord Buddha’s wisdom that "shines brightly all over the Earth and the Universe."

The bridge leading to the temple represents the crossing over from the cycle of rebirth to the Abode of Buddha. The small semicircle before the bridge stands for the human world. The big circle with fangs is the mouth of Rahu, meaning impurities in the mind, a representation of hell or suffering.

All the paintings inside the ubosot (assembly hall) have golden tones. The four walls, ceiling and floor contain paintings showing an escape from the defilements of temptation to reach a supramundane state. On the roof, there are four kinds of animals representing earth, water, wind and fire. The elephant stands for the earth; the naga stands for water; the swan's wings represent wind; and the lion’s mane represents fire.

In 1997, Chalermchai Kositpipat volunteered his service to carry out the construction of the ubosot at his own expense as an offering to Lord Buddha, but he later altered the plan as he saw fit in such a way that Wat Rong Khun developed into a prominent site attracting both Thai and foreign visitors.

Nowadays, Wat Rong Khun is still being constructed. When completed, the construction project of Wat Rong Khun will consist of nine buildings: the ubosot, the hall containing Lord Buddha’s relics, the hall containing Buddha images, the preaching hall, the contemplation hall, the monk’s cell, the door façade of the Buddhavasa, the art gallery, and the toilets.



Temple: Open daily from 6:30 to 18:00 am
Gallery: Open Monday - Friday 8.00 - 17.30
Most Saturdays, Sundays and public holidays 8.00 am - 18.00 pm

Location : AmperMuang ProvinceChiang Rai



วัดร่องขุ่นWạd r̀xng k̄hùn 

เริ่มก่อสร้างตั้งแต่ พ.ศ. 2540 โดยท่านอาจารย์เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์
reìm k̀xs̄r̂āng tậngtæ̀ ph.Ṣ̄. 2540 Doy th̀ān xācāry̒ c̄helim chạy ḳhos̄ʹit phiphạtʹhn̒
 
จิตรกรชั้นแนวหน้าของไทย ซึ่งได้รับแรงบันดาลใจในการสร้าง
มาจาก 3 สิ่งต่อไปนี้คือ

Citrkr chận næwh̄n̂ā k̄hxng thịy Sụ̀ng dị̂ rạb ræng bạndāl cı nı kār s̄r̂āng mā cāk3 S̄ìng t̀x pị nī̂ khụ̄x
1. ชาติ : ด้วยความรักบ้านเมือง รักงานศิลป์ จึงหวังสร้างงานศิลปะ
ที่ยิ่งใหญ่ไว้เป็นสมบัติของแผ่นดิน

1.
Chāti : D̂wy khwām rạk b̂ānmeụ̄xng rạk ngān ṣ̄ilp̒ cụng h̄wạng s̄r̂āng ngān ṣ̄ilpa thī̀ yìng h̄ıỵ̀ wị̂ pĕn s̄mbạti
k̄hxng p̄hæ̀ndin

2. ศาสนา : ธรรมะได้เปลี่ยนชีวิตของอาจารย์เฉลิมชัยจากจิตที่ร้อนกลายเป็นเย็น จึงขออุทิศตนให้แก่พระพุทธศาสนา
2.
Ṣ̄ās̄nā : Ṭhrrma dị̂ pelī̀yn chīwit k̄hxng xācāry̒ chalerm chạy cāk cit thī̀ r̂xn klāy pĕn yĕn Cụng k̄hx xuthiṣ̄ tn h̄ı̂ kæ̀ phraphuthṭh ṣ̄ās̄nā

3. พระมหากษัตริย์ : จากการเข้าเฝ้าฯ ถวายงานพระองค์ท่านหลายครั้ง ทำให้อาจารย์เฉลิมชัยรักพระองค์ท่านมาก จากการพบเห็นพระอัจฉริยะภาพทางศิลปะและพระเมตตาของพระองค์ท่าน จนบังเกิดความตื้นตันและสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ

3.
Phra mh̄ā ks̄ʹạtriy̒ : Cāk kār k̄hêāf̄êā‡ T̄hwāy ngān phraxngkh̒ th̀ān h̄lāy khrậng Thảh̄ı̂ xācāry̒ c̄helim chạy rạk phraxngkh̒ th̀ān māk Cāk kār phbh̄ĕn phra xạcc̄hriya p̣hāph thāng ṣ̄ilpa læa phra mettā k̄hxng phraxngkh̒ th̀ān Cn bạngkeid khwām tụ̄̂ntạn læa s̄ảnụk nı phra mh̄ākruṇāṭhikhuṇ
ดังนั้น อาจารย์จึงได้สร้างงานพุทธศิลป์ถวายเป็นงานศิลปะประจำรัชกาลพระองค์ท่าน โดยปรารถนาจะสร้างวัดให้เหมือนเมืองสวรรค์ที่มนุษย์สัมผัสได้ บนพื้นที่เดิมของวัด 3 ไร่ และอาจารย์เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์ ได้บริจาคทรัพย์สินส่วนตัว และคุณวันชัย วิชญชาคร เป็นผู้บริจาคที่ดินประมาณ 7 ไร่เศษ รวมเงินบริจาคของผู้มีจิตศรัทธาอื่นๆ จนถึงปัจจุบันมีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 12 ไร่ และมีพระกิตติพงษ์ กัลยาโณ รักษาการเจ้าอาวาสองค์ปัจจุบัน
Dạngnận xācāry̒ cụng dị̂ s̄r̂āng ngān phuthṭh ṣ̄ilp̒ t̄hwāy pĕn ngān ṣ̄ilpa pracả rạchkāl phraxngkh̒ th̀ān Doy prārt̄hnā ca s̄r̂āng wạd h̄ı̂ h̄emụ̄xn meụ̄xng s̄wrrkh̒ thī̀ mnus̄ʹy̒ s̄ạmp̄hạs̄ dị̂ Bn phụ̄̂nthī̀ deim k̄hxngwạd 3 rị̀ læa xācāry̒ c̄helim chạy ḳhos̄ʹit phiphạtʹhn̒ dị̂ bricākh thrạphy̒s̄in s̄̀wntạw læa khuṇ wạn chạy wichỵ chākhr pĕn p̄hū̂ bricākh thī̀din pramāṇ 7 rị̀ ṣ̄es̄ʹ rwm ngein bricākh k̄hxng p̄hū̂ mī cit ṣ̄rạthṭhā xụ̄̀n« Cnt̄hụng pạccubạn mī neụ̄̂xthī̀ thậngh̄md pramāṇ 12 rị̀ læa mī phra kitti phngs̄ʹ̒ kạlyā ṇo rạks̄ʹākār cêāxāwās̄ xngkh̒ pạccubạn


ลักษณะเด่นของวัด

Lạks̄ʹṇa dèn k̄hxngwạd

คือ พระอุโบสถที่ตกแต่งด้วยสีขาวเป็นพื้น ประดับด้วยกระจกแวววาววิจิตรงดงามดูแปลกตาบนปูนปั้นเป็นลายไทย โดยเฉพาะภาพพระพุทธองค์หลังพระประธาน ซึ่งเป็นภาพที่ใหญ่และสวยงามมาก เหนืออุโบสถที่ประดับด้วยสัตว์ในเทพนิยาย เป็นรูปกึ่งช้างกึ่งวิหคเชิดงวงชูงาดูงดงามแปลกตาน่าสนใจ ภาพจิตรกรรมฝาผนังภายในพระอุโบสถก็เป็นฝีมือภาพเขียนของอาจารย์เองทั้งสิ้น

Khụ̄x phra xubos̄t̄h thī̀ tktæ̀ng d̂wy s̄ī k̄hāw pĕn phụ̄̂n Pradạb d̂wy krack wæwwāw wicitr ngdngām Dū pælk tā bn pūnpận pĕn lāy thịy Doy c̄hephāa p̣hāph phraphuthṭhxngkh̒ h̄lạng phrapraṭhān Sụ̀ng pĕn p̣hāph thī̀ h̄ıỵ̀ læa s̄wyngām māk H̄enụ̄x xubos̄t̄h thī̀ pradạb d̂wy s̄ạtw̒ nı thephniyāy Pĕn rūp kụ̀ng cĥāng kụ̀ng wih̄kh cheid ngwng chū ngā dū ngdngām pælk tā ǹā s̄ncı P̣hāph citrkrrm f̄ā p̄hnạng P̣hāynı phra xubos̄t̄h k̆ pĕn f̄īmụ̄x p̣hāph k̄heīyn k̄hxng xācāry̒ xeng thậngs̄în





ความหมายของอุโบสถ
hwām h̄māy k̄hxng xubos̄t̄h
สีขาวของโบสถ์แทนพระบริสุทธิคุณของพระพุทธเจ้า กระจกขาวหมายถึง พระปัญญาธิคุณของพระพุทธเจ้าที่เปล่งประกายไปทั่ว
โลกมนุษย์และจักรวาล
S̄ī k̄hāw k̄hxng bos̄t̄h̒ thæn phra bri s̄uthṭhi khuṇ k̄hxng phraphuthṭhcêā Krack k̄hāw h̄māy t̄hụng Phra pạỵỵā ṭhi khuṇ k̄hxng phraphuthṭhcêā thī̀ pel̀ng prakāy pị thạ̀w lok mnus̄ʹy̒ læa cạkrwāl


สะพาน หมายถึง การเดินข้ามวัฏสงสารมุ่งสู่พุทธภูมิ ก่อนขึ้นสะพาน
ครึ่งวงกลมเล็ก หมายถึง โลกมนุษย์ วงใหญ่ที่มีเขี้ยวเป็นปากของพญามารหรือ พระราหู หมายถึง กิเลสในใจแทนขุมนรกคือทุกข์ ผู้ใดจะเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้าในพระพุทธภูมิต้องตั้งจิตปลดปล่อยกิเลสตัณหาของตนเองทิ้งลงไปในปากพญามาร เพื่อเป็นการชำระจิตเราให้ผ่องใสถึงจะเดินผ่านขึ้นไป บนสันของสะพานจะประกอบไปด้วยอสูรอมกัน 16 ตัว ข้างละ 8 ตัว อุปกิเลส 16 จากนั้นก็จะถึง กึ่งกลางสะพาน หมายถึง เขาพระสุเมระ เป็นที่อยู่ของเทวดา ด้านล่างเป็น สระน้ำ หมายถึง สันดรมหาสมุทร มีสวรรค์ตั้งอยู่ 6 ชั้นด้วยกัน ผ่านสวรรค์ 6 เดินลงไปสู่แผ่นดินของพรหม 16 ชั้น แทนด้วยดอกบัวทิพย์ 16 ดอก รอบอุโบสถ ดอกที่ใหญ่สุด 4 ดอก ตรงทางขึ้นด้านข้างโบสถ์ หมายถึง ซุ้มพระอริยเจ้า 4 พระองค์ ประกอบด้วยพระโสดาบัน พระสกิทาคามี พระอนาคามี และพระอรหันต์ เป็นสงฆ์สาวกที่เราควรกราบไหว้บูชา

S̄aphān h̄māy t̄hụng kār dein k̄ĥām wạt̩s̄ngs̄ār mùng s̄ū̀ phuthṭh p̣hūmi K̀xn k̄hụ̂n s̄aphān Khrụ̀ng wngklm lĕk h̄māy t̄hụng lok mnus̄ʹy̒ wng h̄ıỵ̀ thī̀ mī k̄heī̂yw pĕn pāk k̄hxng phỵā mār h̄rụ̄x Phra rāh̄ū h̄māy t̄hụng kiles̄ nı cı thæn k̄humnrk khụ̄x thukk̄h̒ P̄hū̂ dı ca k̄hêāf̄êā phraphuthṭhcêā nı phraphuthṭh p̣hūmi t̂xng tậng cit pldpl̀xy kiles̄ tạṇh̄ā k̄hxng tnxeng thîng lng pị nı pāk phỵā mār Pheụ̄̀x pĕnkār chảra cit reā h̄ı̂ p̄h̀xngs̄ı t̄hụng ca dein p̄h̀ān k̄hụ̂n pị Bn s̄ạn k̄hxng s̄aphān ca prakxb pị d̂wy xs̄ūr xm kạn 16 tạw k̄ĥāng la 8 tạw xupkiles̄ 16 cāk nận k̆ ca t̄hụng Kụ̀ngklāng s̄aphān h̄māy t̄hụng k̄heā phra s̄u me ra pĕn thī̀ xyū̀ k̄hxng thewdā d̂ān l̀āng pĕn s̄ra n̂ả h̄māy t̄hụng s̄ạn dr mh̄ās̄muthr Mī s̄wrrkh̒ tậng xyū̀ 6 chận d̂wy kạn p̄h̀ān s̄wrrkh̒ 6 dein lng pị s̄ū̀ p̄hæ̀n din k̄hxng phrh̄m 16 chận thæn d̂wy dxkbạw thiphy̒ 16 dxk rxb xubos̄t̄h dxk thī̀ h̄ıỵ̀ s̄ud 4 dxk trng thāng k̄hụ̂n d̂ān k̄ĥāng bos̄t̄h̒ h̄māy t̄hụng sûm phra xriy cêā 4 phraxngkh̒ prakxbd̂wy phra S̄odābạn phra s̄kithākhāmī phra xnākhāmī læa phra xrh̄ạnt̒ Pĕn s̄ngḳh̒ s̄āwk thī̀ reā khwr krāb h̄ịŵ būchā

 ก่อนขึ้นบันได ครึ่งวงกลม หมายถึง โลกุตตรปัญญา บันไดทางขึ้น 3 ขั้น แทนอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ผ่านแล้วจึงขึ้นไปสู่แผ่นดินของอรูปพรหม 4 แทนด้วยดอกบัวทิพย์ 4 ดอก และ บานประตู 4 บาน บานสุดท้ายเป็นกระจกสามเหลี่ยมแทนความว่างเปล่า คือ(ความหลุดพ้น)
แล้วจึงจะก้าวข้ามธรณีประตูเข้าสู่พุทธภูมิภายในประกอบด้วยภาพเขียนโทนสีทองทั้งหมด ผนัง 4 ด้าน เพดาน และพื้นล้วนเป็นภาพเขียนที่แสดงถึงการหลุดพ้นจากกิเลสมาร มุ่งเข้าสู่โลกุตรธรรม

K̀xn k̄hụ̂n bạndị khrụ̀ng wngklm h̄māy t̄hụng loku ttr pạỵỵā bạndị thāng k̄hụ̂n 3 k̄hận thæn xniccạng thuk k̄hạng xnạttā p̄h̀ān læ̂w cụng k̄hụ̂n pị s̄ū̀ p̄hæ̀n din k̄hxng xrūp phrh̄m 4 thæn d̂wy dxkbạw thiphy̒ 4 dxk læa bān pratū 4 bān bān s̄udtĥāy pĕnk ra ck S̄āmh̄elī̀ym thæn khwām ẁāng pel̀ā khụ̄x (khwām h̄ludpĥn) Læ̂w cụng ca k̂āw k̄ĥām ṭhrṇīpratū k̄hêā s̄ū̀ phuthṭh p̣hūmi p̣hāynı prakxbd̂wy p̣hāph k̄heīyn thon s̄ī thxng thậngh̄md p̄hnạng 4 d̂ān phedān læa phụ̄̂n l̂wn pĕn p̣hāph k̄heīyn thī̀ s̄ædng t̄hụng kār h̄ludpĥn cāk kiles̄mār Mùng k̄hêā s̄ū̀ lokutrṭhrrm



ส่วนบนของหลังคาโบสถ์ ได้นำหลักธรรมอันสำคัญยิ่งของการปฏิบัติจิต 3 ข้อ คือ ศีล สมาธิ ปัญญา นำไปสู่ความว่าง (ความหลุดพ้น)
S̄̀wn bn k̄hxng h̄lạngkhā bos̄t̄h̒ Dị̂ nả h̄lạk ṭhrrm xạn s̄ảkhạỵ yìng k̄hxng kār pt̩ibạti cit 3 k̄ĥx khụ̄x ṣ̄īl s̄māṭhi pạỵỵā nả pị s̄ū̀ khwām ẁāng (Khwām h̄ludpĥn)
ช่อฟ้าเอก หมายถึง ศีล ประกอบด้วยสัตว์ 4 ชนิดผสมกัน แทน
ดิน น้ำ ลม ไฟ
ช้าง หมายถึง ดิน, นาค หมายถึง น้ำ, ปีกหงส์ หมายถึง ลม และ หน้าอก หมายถึง ไฟ ขึ้นไปปกปักรักษาพระศาสนา บนหลัง ช่อฟ้าเอกแทนด้วย พระธาตุ หมายถึง ศีล 5 ศีล 8 ศีล 10 ศีล 227 ข้อ และ 84,4000 พระธรรมขันธ์

Ch̀xf̂ā xek h̄māy t̄hụng ṣ̄īl prakxbd̂wy s̄ạtw̒ 4 chnid p̄hs̄m kạn thæn din n̂ả lm fị Cĥāng h̄māy t̄hụng din, nākh h̄māy t̄hụng n̂ả, pīk h̄ngs̄̒ h̄māy t̄hụng lm læa h̄n̂āxk h̄māy t̄hụng fị k̄hụ̂n pị pkpạkrạks̄ʹā phra ṣ̄ās̄nā bn h̄lạng ch̀xf̂ā xek thæn d̂wy Phra ṭhātu h̄māy t̄hụng ṣ̄īl 5 ṣ̄īl 8 ṣ̄īl 10 ṣ̄īl 227 k̄ĥx læa 84,4000 phra ṭhrrmk̄hạnṭh̒
ช่อฟ้าชั้นที่ 2 (บน) หมายถึง สมาธิ แทนด้วยสัตว์ 2 ชิด คือ
พญานาคกับหงส์
เขี้ยวพญานาค หมายถึง ความชั่วในตัวมนุษย์
หงส์ หมายถึง ความดีงาม ศีลเป็นตัวฆ่าความชั่ว (กิเลส) เมื่อใจเราชนะกิเลสได้ก็เกิดสมาธิ มีสติกำหนดรู้เกิดปัญญา

Ch̀xf̂ā chận thī̀ 2 (bn) h̄māy t̄hụng s̄māṭhi thæn d̂wy s̄ạtw̒ 2 chid khụ̄x phỵānākh kạb h̄ngs̄̒ K̄heī̂yw phỵānākh h̄māy t̄hụng khwām chạ̀w nı tạw mnus̄ʹy̒ H̄ngs̄̒ h̄māy t̄hụng khwām dī ngām ṣ̄īl pĕn tạw ḳh̀ā khwām chạ̀w (kiles̄) meụ̄̀x cı reā chna kiles̄ dị̂ k̆ keid s̄māṭhi Mī s̄ti kảh̄nd rū̂ keid pạỵỵā
ช่อฟ้าชั้นที่ 3 (สูงสุด) หมายถึง ปัญญา แทนด้วยหงส์ปากครุฑ หมอบราบนิ่งสงบไม่ปรารถนาใดๆ มุ่งสู่การดับสิ้นซึ่งอาสวะกิเลสภายใน
Ch̀xf̂ā chận thī̀ 3 (s̄ūngs̄ud) h̄māy t̄hụng pạỵỵā thæn d̂wy h̄ngs̄̒ pāk khruṯh H̄mxb rāb nìng s̄ngb mị̀ prārt̄h
nā dı« Mùng s̄ū̀ kār dạb s̄în sụ̀ng xā s̄wa kiles̄ p̣hāynı
ด้านหลังหางช่อฟ้าชั้นที่ 3 มีลวดลาย 7 ชิ้น หมายถึง โพชฌงค์ 7
ลาย 8 ชิ้นรองรับฉัตร หมายถึง มรรค 8
ฉัตร หมายถึง พระนิพพานลวดลายบนเชิงชายด้านข้างของหลังคาชั้นบนสุดแทนด้วยสังโยชน์ 10 เสา 4 มุม ด้านข้างโบสถ์ คือ ตุง (ธง) กระด้าง เพื่อถวายเป็นพุทธบูชาแด่พระพุทธเจ้าตามคติล้านนา

D̂ān h̄lạng h̄āng ch̀xf̂ā chận thī̀ 3 mī lwdlāy 7 chîn
h̄māy t̄hụng phochc̣hngkh̒ 7 Lāy 8 chîn rxngrạb c̄hạtr h̄māy t̄hụng mrrkh 8 C̄hạtr h̄māy t̄hụng phra niphphān lwdlāy bn cheingchāy d̂ān k̄ĥāng k̄hxng h̄lạngkhā chận bn s̄ud thæn d̂wy s̄ạngyochn̒ 10 s̄eā 4 mum d̂ān k̄ĥāng bos̄t̄h̒ khụ̄x tung (ṭhng) krad̂āng pheụ̄̀x t̄hwāy pĕn phuthṭh būchā dæ̀ phraphuthṭhcêā tām khti l̂ān nā



วัด : เปิดให้เข้าชมทุกวัน เวลา 6.30 – 18.00 น.
ห้องแสดงภาพ : เปิดให้เข้าชมวันจันทร์ – ศุกร์ 8.00 – 17.30 น.

ส่วนวันเสาร์ อาทิตย์ และวันหยุดราชการ เวลา 8.00 – 18.00 น.
Wạd: Peid h̄ı̂ k̄hêā chm thuk wạn welā 6.30 – 18.00 N.
H̄̂xng s̄ædng p̣hāph: Peid h̄ı̂ k̄hêā chm
wạn cạnthr̒ – ṣ̄ukr̒ 8.00 – 17.30 N.
S̄̀wn wạn s̄eār̒ xāthity̒ læa wạn h̄yud rāchkār
welā 8.00 – 18.00 N.

สถานที่ตั้ง : ตำบลป่าอ้อดอนชัย อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย
S̄t̄hān thī̀ tậng : Tảbl p̀ā x̂x dxn chạy xảp̣hex meụ̄xng cạngh̄wạd cheīyngrāy

No comments:

Post a Comment